มูลนิธิเอิร์ธ ซี ฟาวน์เดชั่น และ คณะอาจารย์กับนักศึกษาวิทยาลัยนวัตกรรมดิจิทัลเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรังสิต ขอขอบพระคุณ ศาสตราจารย์ Xiaofeng Li จาก สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลแห่ง Chinese Academy of Sciences เมืองชิงเต่า ประเทศจีนที่ให้เกียรติเข้าร่วมกิจกรรมของมูลนิธิฯ ระหว่างวันที่ 4 – 6 เมษายน 2568 ด้วยบทบาททั้งในด้านการบรรยาย ถ่ายทอดความรู้ และร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองเชิงวิชาการกับนักวิจัยและเยาวชนไทย
The Earth Sea Foundation, together with the faculty members and students from the College of Digital Innovation Technology, Rangsit University, would like to express their sincere appreciation to Professor Xiaofeng Li from the Institute of Oceanology, Chinese Academy of Sciences (CAS), Qingdao, China, for honoring us with his participation in our activities from April 4 – 6, 2025.
Professor Li played a vital role by delivering insightful lectures, sharing valuable knowledge, and engaging in academic exchanges with researchers and Thai youth throughout the program.
地球海洋基金会联合泰国兰实大学数字创新技术学院的师生,向来自中国青岛中国科学院海洋研究所的 李晓峰 教授 表示衷心的感谢。
感谢李教授于 2025年4月4日至6日 期间莅临并参与了本基金会的各项活动。
在整个活动中,李教授不仅带来了深刻精彩的讲座,分享了宝贵的知识经验,还积极参与了与泰国研究人员及青年学生的学术交流,发挥了关键性的重要作用。
วันศุกร์ที่ 4 เมษายน 2568 – ศาสตราจารย์ลี่ได้ให้เกียรติมาบรรยาย ณ มหาวิทยาลัยรังสิต เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) เพื่อการสำรวจและทำความเข้าใจมหาสมุทร
On Friday, April 4, 2025, Professor Li graciously delivered a lecture at Rangsit University on the application of Artificial Intelligence (AI) in exploring and understanding the ocean.
2025年4月4日(星期五),李教授应邀在兰实大学(Rangsit University)发表专题讲座,讲述了人工智能(AI)在海洋探索与理解中的应用。




วันเสาร์ที่ 5 เมษายน 2568 – มีการจัด ประชุมออนไลน์ ( ภาษาไทย–จีน ) เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับทีมวิจัยและนักศึกษาทุน
On Saturday, April 5, 2025, an online meeting (in Thai–Chinese languages) was held to exchange knowledge with the research team and scholarship students.
2025年4月5日(星期六),举行了一场线上会议(泰语–中文双语),与研究团队及奖学金学生进行了知识交流。




วันอาทิตย์ที่ 6 เมษายน 2568 – คณะทำงานได้ลงพื้นที่จริง ออกเรือบริเวณชายฝั่งทะเลพัทยา เพื่อแลกเปลี่ยนแนวทางการเก็บข้อมูลภาคสนามและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในพื้นที่จริง
On Sunday, April 6, 2025, the team conducted a field visit by boat along the Pattaya coastline to exchange methods for field data collection and the practical application of technology in real-world marine environments.
2025年4月6日(星期日),工作小组前往芭堤雅沿海地区乘船开展实地考察,就现场数据采集方法以及科技在真实海洋环境中的应用进行了交流与探讨。




ศาสตราจารย์ Xiaofeng Li เป็น IEEE Fellow และดำรงตำแหน่งบรรณาธิการวารสารวิชาการชั้นนำระดับโลก เช่น IEEE TGRS, IJRS และ Journal of Remote Sensing การที่ท่านได้มาร่วมแลกเปลี่ยนในครั้งนี้ นับเป็นโอกาสอันทรงคุณค่าสำหรับนักวิจัยไทยในการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญระดับนานาชาติ
Professor Xiaofeng Li is an IEEE Fellow and serves as an editor for several leading international academic journals, including IEEE Transactions on Geoscience and Remote Sensing (TGRS), International Journal of Remote Sensing (IJRS), and the Journal of Remote Sensing.
His participation in this exchange was a valuable opportunity for Thai researchers to learn from a world-class expert in the field.
李晓峰教授是 IEEE 会士(Fellow),同时担任多本国际顶尖学术期刊的编辑,包括 IEEE《地球科学与遥感汇刊》(TGRS)、《国际遥感期刊》(IJRS) 和 《遥感学报》(Journal of Remote Sensing)。
他此次参与交流,为泰国研究人员提供了一个向国际顶尖专家学习的宝贵机会。
AI กำลังมีบทบาทสำคัญในการปฏิวัติวงการ สมุทรศาสตร์ (Oceanography) โดยช่วยให้นักวิจัยสามารถวิเคราะห์ข้อมูลจากมหาสมุทรได้อย่างลึกซึ้งยิ่งขึ้นสามารถคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม และส่งเสริมการพัฒนาระบบนิเวศทางทะเลอย่างยั่งยืนทาง มูลนิธิเอิร์ธ ซี ฟาวน์เดชั่นขอขอบคุณ ศาสตราจารย์ Xiaofeng Li สำหรับความรู้ แรงบันดาลใจ และความร่วมมืออันมีค่าในครั้งนี้พร้อมหวังว่าจะได้สานต่อความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กร CAS อย่างต่อเนื่องในอนาคต
Artificial Intelligence (AI) is playing a transformative role in the field of oceanography, enabling researchers to analyze oceanic data more deeply, predict environmental changes, and support the sustainable development of marine ecosystems.
The Earth Sea Foundation would like to express its heartfelt gratitude to Professor Xiaofeng Li for his invaluable knowledge, inspiration, and collaboration during this program.
We look forward to continuing our academic partnership with the Chinese Academy of Sciences (CAS) in the future.
人工智能(AI) 正在海洋学(Oceanography)领域中发挥变革性的作用,帮助研究人员更深入地分析海洋数据、预测环境变化,并推动海洋生态系统的可持续发展。
地球海洋基金会(Earth Sea Foundation)衷心感谢 李晓峰教授 在本次活动中所带来的宝贵知识、启发与合作。
我们期待未来能与 中国科学院(CAS) 持续开展学术合作。